การพัฒนาระบบป้องกันการ Miss Diagnosis
โดยงานเทคโนโลยีสารสนเทศและเวชระเบียน
วัตถุประสงค์ของ CQI
“ เพื่อให้ผู้ป่วยทุกรายที่มารับการตรวจรักษา
ต้องมีการลงวินิฉัยโรคทุกราย”
ความสำคัญของปัญหา
Øสถิติและรายงานไม่ตรงตามความเป็นจริง
Plan & Do ขาดความรู้เรื่องการให้รหัสโรค (IDC10) และหัตถการ (ICD9-CM)1. จัดประชุมเรื่องการให้รหัสโรคและการตรวจสอบความสมบูรณ์ของเวชระเบียน
2. จัดทำคู่มือรหัสโรคที่พบบ่อยให้กับหน่วยงานต่างๆ
3. เพิ่มรหัสคำย่อที่ใช้บ่อยในโปรแกรม HOSxP สำหรับห้องตรวจแพทย์ (ICD-Codemap)
2. จัดทำคู่มือรหัสโรคที่พบบ่อยให้กับหน่วยงานต่างๆ
3. เพิ่มรหัสคำย่อที่ใช้บ่อยในโปรแกรม HOSxP สำหรับห้องตรวจแพทย์ (ICD-Codemap)
ผลการดำเนินงาน (ต่อ)
Øข้อมูลที่ต้องใช้ประกอบในการเบิกจ่ายเงินจากหน่วยงานต่างๆ
Øการส่งข้อมูลผู้ป่วยใน 12 แฟ้มมาตรฐาน 18 แฟ้มและ 8 แฟ้มของงานส่งเสริมสุขภาพ
Øสูญเสียรายได้ของหน่วยงานจากการได้รับเงินจัดสรรน้อยกว่าปกติ
Øความสมบูรณ์ของเวชระเบียนและมีความเสี่ยงเมื่อมีการขอประวัติย้อนหลัง
Øการส่งรายงานล่าช้า เนื่องจากต้องรอให้จุดต่างๆบันทึกข้อมูลย้อนหลัง
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
Øขาดความรู้เรื่องการให้รหัสโรค (ICD10) และหัตถการ(ICD9-CM)
Øขาดความรู้เรื่องการใช้โปรแกรม HOSxP
Øไม่เข้าใจระบบการเชื่อมโยงโปรแกรมภายในหน่วยงาน
Øขาดการตรวจสอบการบันทึกข้อมูล
Øผู้ป่วยไปรับบริการอย่างอื่นที่ไม่ผ่านแพทย์
Øเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้า / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
การประเมินผล / ตัวชี้วัดของความสำเร็จ
“ ผู้ป่วยทุกรายที่มารับการตรวจรักษา
ต้องมีการลงวินิจฉัยโรคทุกราย (อัตรา 100 %) ”
ผลการดำเนินงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น